
✅ ด้านวิทยาศาสตร์ (Science) เพื่อให้ทราบและเข้าใจหลักการเคลื่อนที่ทางกายวิภาคศาสตร์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น โครงกระดูก ข้อต่อ และกล้ามเนื้อ
✅ ด้านเทคโนโลยี (Technology) เพื่อให้สามารถควบคุมทิศทางการหมุนและขนาดของมุม ในการทํางานร่วมกันระหว่างเซอร์โวมอเตอร์ 2 ตัว
✅ ด้านวิศวกรรม (Engineering) เพื่อจําลองการเคลื่อนที่ของงวงช้างผ่านการควบคุมทิศทางการหมุนและขนาดของมุม ซึ่งเป็นการทํางานร่วมกันระหว่างเซอร์โวมอเตอร์ 2 ตัว
✅ ด้านศิลปะ (Art) เพื่อให้สามารถออกแบบสื่อสารและอธิบายลักษณะการจําลองการ เคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ได้ หากมีการประยุกต์กลายเป็นหุ่นยนต์แขนกลในอนาคต
✅ ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) เพื่อให้เข้าใจแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับระนาบและมุม เพื่อให้ทราบถึงหลักการคํานวณ จํานวนกระดูกของนิ้วมือด้วยการใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์